Options
แนวทางการแก้ปัญหาเพื่อเพิ่มรายได้ของตลาดประชารัฐของดีวีถีชุมชน ธ.ก.ส. ภายใต้สถานการณ์โควิด กรณีศึกษา ธ.ก.ส. จังหวัดขอนแก่น.
Publisher(s)
University of the Thai Chamber of Commerce (UTCC)
Date Issued
2564
Author(s)
ระพีพรรณ ปานเดช.
Other Contributor(s)
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. สาขาวิชาการตลาด.
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. คณะบริหารธุรกิจ.
Abstract
การศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาเพื่อเพิ่มรายได้ของตลาดประชารัฐของดีวีถีชุมชน ธ.ก.ส. ภายใต้สถานการณ์โควิด กรณีศึกษาธ.ก.ส. จังหวัดขอนแกํน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้บริโภคและความพึงพอใจในการใช้บริการตลาดประชารัฐ ปัจจัยสํวนประสมทางการตลาดที่สํงผลต่อการตัดสินใจใช้บริการตลาดประชารัฐ และเพื่อเสนอแนวทางในการเพิ่มรายได้ของตลาดประชารัฐของดีวีถีชุมชน ธ.ก.ส. ภายใต้สถานการณ์โควิด กรณีศึกษา ธ.ก.ส.จังหวัดขอนแกํน เนื่องจากปัญหาที่พบจากการเก็บข้อมูล ปริมาณการซื้อสินค้าในตลาดประชารัฐของดีวิถีชุมชน ธ.ก.ส. ขอนแก่น จำนวน 3 ปี บัญชีย้อนหลังพบวํา จำนวนผู้ประกอบการที่เข้ามาขายสินค้าที่ตลาดประชารัฐลดลงและปริมาณรายได้หรือยอดขายลดลง กลุํมตัวอยํางคือกลุํมลูกค้าผู้บริโภค ในเขตอำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น ที่ใช้บริการตลาดประชารัฐของดีวิถีชุมชน ธ.ก.ส.ขอนแก่น ทุกวันพฤหัสบดี โดยเฉลี่ยจากจำนวนผู้ใช้บริการที่ลงชื่อในทะเบียนเข้าออก มาตรการป้องกันโควิด-19 กํอนเข้าบริเวณตลาดประชารัฐจำนวน 400 ราย คำนวณหาขนาดกลุํมตัวอยําง ตามสูตร Yamane ได้กลุํมตัวอยําง จำนวน 200 รายและกลุ่มผู้ให้ข้อมูล คือผู้ประกอบการที่ขายสินค้าในตลาดประชารัฐของดีวิถีชุมชน ธ.ก.ส. จำนวน 10 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นแบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ ใช้สถิติในการวิเคราะห์ข้อมูล ซึ่งประโยชน์ที่คาดวําจะได้รับคือสร้างแผนกลยุทธ์การตลาด เพิ่มยอดรายได้ให้กับร้านค้าที่มาขายสินค้าในตลาดประชารัฐของดีวิถีชุมชน ธ.ก.ส.ขอนแกํน ภายใต้ สถานการณ์โควิดได้ ผลการศึกษาด้านความพึงพอใจและส่วนประสมทางการตลาดของตลาดประชารัฐในผลรวม ระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (=4.43,S.D.=0.59) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบวํา ผู้ตอบแบบสอบถามสํวนมากมีความเห็นด้านบุคคลและการให้บริการมีพึงพอใจอยูํในระดับมากที่สุด (= 4.58,S.D.=0.52) ด้านองค์ประกอบทางกายภาพสภาพแวดล้อมภายนอก มีความพึงพอใจอยูํในระดับมาก (=4.49,S.D.=0.59) ด้านชํองทางบริการและสถานที่ในการซื้อ มีความพึงพอใจอยูํในระดับมาก (=4.44, S.D.=0.55) ด้านสํงเสริมการตลาด มีความพึงพอใจอยูํในระดับมาก (=4.32, S.D.=0.68) ด้านผลิตภัณฑ์ มีความพึงพอใจอยูํในระดับมาก (=4.31,S.D.=0.60) ด้านราคา มีความพึงพอใจอยูํในระดับมาก (= 4.29 S.D.=0.66) แต่เนื่องจากตลาดขาดการประชาสัมพันธ์ผํานสื่อออนไลน์ และสื่อออฟไลน์ จึงได้กำหนดแนวทางในการเพิ่มรายได้ของตลาดประชารัฐของดีวีถีชุมชน ธ.ก.ส.ขอนแก่น เน้นการประชาสัมพันธ์เจาะกลุํมลูกค้าบริเวณใกล้เคียงและวางแผนการโฆษณาประชาสัมพันธ์ชํองทางออนไลน์ เพิ่มวันเปิดตลาด ขยายเวลาขายสินค้า ผู้ขายและพนักงานผู้ดูแลตลาดประชารัฐต้องใสํใจเน้นการบริการและให้ความรํวมมือด้านมาตรการป้องกันสถานการณ์โควิด
The objectives of this study were to study consumer behavior and satisfaction in using the service of the Green market, marketing mix factors affecting the decision to use the service of the Green market, and to propose a way to increase the income of the Green market of the BAAC under the Covid situation: A case study of the BAAC. As the problems encountered from collecting data on purchase volumes in the Green market of the BAAC, KhonKaen Province for the past 3 years found that the number of entrepreneurs who came to sell products at the Green market decreased and the amount of income or sales decreased. The sample were consumers and customers in Mueang KhonKaen District, KhonKaen Province who used the service of the Green market of BAAC, KhonKaen every thursday. In average of the number of service users who signed in and out of the Covid-19 prevention measures before entering the Green Market area of 400 people, the sample size was calculated according to the Yamane formula, it obtained 200 samples. The informant group were 10 entrepreneurs who sold products in the Green Market of the BAAC. The instrument used in this study was a questionnaire, an interview form. The statistics were used for data analysis. The expected benefit was to create a marketing strategy plan to increase revenue for the stores who sold products in the Green market of the BAAC, KhonKaen under the Covid situation. The study results had shown that opinions on satisfied factors and marketing mixed were highly and statistically significant. The income expansion way of target group should focus on public relation nearly customers and plan to advertise online channels, extend market days, also opening hours of market. The sellers and market staffs should be concentrating in services and cooperation in Covid-19 protecting measures. The results showed that the opinions on the factors of satisfaction and marketing mix of the Green market as a whole were at a high level ( =4.43, S.D. =0.59) On a case-by-side basis, most respondents had the highest level of personal and service satisfaction ( 4.58,S.D.=0.52) On the physical component side, the external environment is very satisfied ( = 4.49,S.D.=0.59). The service channels and places of purchase are very satisfied ( =4.44, S.D.=0.55) The marketing promotion side is very satisfied ( =4.32, S.D.=0.68), the product side is very satisfied ( =4.31,S.D.=0.60). The price is very satisfied ( = 4.29 S.D.=0.66) But because the market lacked the publicity through online media and offline media. Therefore, the market has formulated the guidelines to increase the income of the Green market of the BAAC, Khon Kaen focusing on public relations, targeting nearby customers and planning the advertisement and public relations via online, increasing the opening date of the market, extend the time for selling products. The vendors and staff in charge of the Green market must pay attention on focusing the service and give cooperation in the aspect of measures to prevent the Covid situation
Description
การศึกษาค้นคว้าอิสระ (บธ.ม. (การตลาด)) -- มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 2564.
Degree Grantor
University of the Thai Chamber of Commerce
Access Rights
Public
Rights
This work is under copyright of University of the Thai Chamber of Commerce (UTCC). Reproduction or distribution of the work in any format is prohibited without written permission of the copyright owner.
Rights Holder(s)
University of the Thai Chamber of Commerce
Bibliographic Citation
ระพีพรรณ ปานเดช. (2564). แนวทางการแก้ปัญหาเพื่อเพิ่มรายได้ของตลาดประชารัฐของดีวีถีชุมชน ธ.ก.ส. ภายใต้สถานการณ์โควิด กรณีศึกษา ธ.ก.ส. จังหวัดขอนแก่น.
File(s)