logo
  • English
  • ไทย
  • Log In
    Have you forgotten your password?
logo
  • Communities & Collections
  • Research Outputs
  • Projects
  • People
  • Statistics
  • English
  • ไทย
  • Log In
    Have you forgotten your password?
  1. Home
  2. 1. Schools / Colleges
  3. Graduate School (GS)
  4. GS: Theses / Independent Studies
  5. การใช้งานระบบ System Application Program (SAP) เพื่อการจัดซื้อของกองพัสดุและจัดการทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย
 
Options

การใช้งานระบบ System Application Program (SAP) เพื่อการจัดซื้อของกองพัสดุและจัดการทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย

Publisher(s)
University of the Thai Chamber of Commerce
Date Issued
2010
Author(s)
Pimpong, Lalisa
Other Contributor(s)
University of the Thai Chamber of Commerce. Graduate School
Abstract
รายงานการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเล่มนี้ เป็นการศึกษาเรื่องการใช้งาน ระบบ System Application Program (SAP) เพื่อการจัดซื้อของกองพัสดุและจัดการทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย ลักษณะการประชากรที่ศึกษา คือ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการใช้ระบบ SAP หลายหน่วยงาน ซึ่งขอบเขตในการศึกษา คือ ปัญหา อุปสรรค และหาแนวทางแก้ไขในการจัดซื้อผ่านระบบ SAP ของกองพัสดุฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อ ระบบถูกเริ่มใช้ตั้งแต่ 1 มิถุนายน 2553 วิธีการเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และสังเกตการใช้งาน กระบวนการของผู้ใช้ ได้แก่ เจ้าหน้าที่แผนกจัดซื้อ เจ้าหน้าที่ธุรการหน่วยงานต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยฯวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการใช้งานระบบ SAP เพื่อการจัดซื้อของกองพัสดุฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่วันที่เริ่มนำระบบมาใช้คือ 1 มิ.ย.2553 ศึกษาปัญหา อุปสรรค และหาแนวทางแก้ไขในการจัดซื้อของกองพัสดุ และเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดซื้อของกองพัสดุฯจากการศึกษาพบว่าการเพิ่มรูปภาพ หน่วยนับ ที่ระบบ SAP และประมาณราคาวัสดุที่สั่งซื้อ ให้ใกล้เคียงหรือสูงจากที่คาดไว้เล็กน้อย จะทำให้ลดความผิดพลาดและป้องกันการสับสนในการกรอกข้อมูลได้ และเพื่อบรรลุเป้าหมายของกองพัสดุ ตามตัวบ่งชี้ 7.13.4 ระบุไว้ว่า จํานวนครั้งของการสั่งซื้อที่ไม่ถูกต้องตามใบขอซื้อในรอบ คือ 0 ครั้งต่อเดือน ควบคู่กับ การจัดการด้านองค์ความรู้ แก่ผู้ที่ต้องใช้ระบบอย่างสม่าเสมอ ลดขั้นตอนทั้งหมดจาก 7 ขั้นตอน เหลือ 6 ตัดขั้นตอนที่ซ้ำซ้อนออก นั่นคือขั้นตอนการเก็บข้อมูลลงสมุดคุม ประหยัดทรัพยากรกระดาษที่นำมาทำสมุดคุมตลอดทั้งปี ได้ถึง 30 เล่ม ลดเวลาในการจัดทําใบขอซื้อ (PR) เป็น ใบสั่งซื้อ (PO) ได้ 23.26% และจัด rating ของร้านค้า ด้วยวิธีการวิเคราะห์แบบ Analytic Hierarchy Process (AHP) โดยผู้ออกใบ ใบสั่งซื้อ สามารถเลือกร้านค้าเหล่านี้ได้จากระบบ โดยไม่ต้องวิเคราะห์ซ้ำหรือค้นจากเอกสารเดิมซ้ำอีก ได้เกณฑ์การเลือกร้านค้าจัดลําดับความสำคัญดังนี้ ลําดับที่ 1 การบริการ (Service) และคุณภาพ (Quality) เท่ากัน 0.329 ลําดับที่ 2 ราคา (Price) 0.2 และลําดับที่ 3 การส่งมอบ (Delivery) 0.142 สำหรับประเภทอื่นๆ เช่นการซ่อมบํารุง สามารถนําวิธีนี้ไปประยุกต์ให้เหมาะสมตามลักษณะการใช้งานด้วย ส่วนด้านระบบ SAP นําแนวคิดเรื่อง การจัดการความเสี่ยง (Risk Management) โดยใช้เครื่องมือดังนี้ แผนป้องกันปัญหาเฉพาะหน้า (Business contingency Plan) และใช้แบบฟอร์ม หรือ templates for risk assessment มาช่วยในการเก็บข้อมูล ส่งรายงานต่อหัวหน้างาน เพื่อป้องกันและแก้ไขต่อไป
Subject(s)
Logistics Management
Degree Level
masters
Degree Department
School of Business
Degree Grantor
University of the Thai Chamber of Commerce
Access Rights
public
Rights
This work is protected by copyright. Reproduction or distribution of the work in any format is prohibited without written permission of the copyright owner.
Rights Holder(s)
University of the Thai Chamber of Commerce
Bibliographic Citation
Lalisa Pimpong (2010) การใช้งานระบบ System Application Program (SAP) เพื่อการจัดซื้อของกองพัสดุและจัดการทรัพย์สิน มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
File(s)
 2454abstract.pdf (172.05 KB)
 2454fulltext.pdf (5.1 MB)
  View More
Views
97
Acquisition Date
Mar 24, 2023
Downloads
10881
Acquisition Date
Mar 24, 2023
google-scholar
  • Cookie settings
  • Privacy policy
  • Send Feedback
University of the Thai Chamber of Commerce
Powered by DSpace-CRIS